ที่
|
ทฤษฎี
|
แนวคิด
|
กุญแจสำคัญ
|
ตัวอย่างประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน
|
1
|
พาฟลอฟ
|
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
|
จัดอยู่ในกลุ่ม Typt-sซึ่งกลุ่มนี้จะต้องมีตัวเสริมแรงมาก่อนแล้วจะค่อยๆแสดงพฤติกรรมออกมา
|
ก่อนการวางเงื่อนไข
ครูดาให้ทำการบ้าน(CS) --------> เด็กเฉยๆ
ไม่ทำครูหักคะแนน(UCS) -------> เด็กทำ(UCR)
วางเงื่อนไข
ให้การบ้าน+ไม่ทำหักคะแนน-----> เด็กทำ
หลังการวางเงื่อนไข
ให้การบ้าน(CS) -------> เด็กทำ(CR)
|
2
|
วัตสัน
|
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
|
จัดอยู่ในกลุ่ม Typt-sซึ่งกลุ่มนี้จะต้องมีตัวเสริมแรงมาก่อนแล้วจะค่อยๆแสดงพฤติกรรมออกมา
|
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
ก่อนการวางเงื่อนไข
ครูสอน(UCS) ------> เด็กไม่สนใจ(UCR)
ครูลงโทษ(UCS) -------> เด็กไม่ชอบครู(UCR)
ระหว่างการวางเงื่อนไข
ครูสอน(CS)+ครูลงโทษ(UCS)----> เด็กไม่ชอบครู(UCR)
หลังการวางเงื่อนไข
ครูสอน(CS) -----> เด็กไม่ชอครู(CR)
การวางเงื่อนไขกลับ
ก่อนการวางเงื่อนไข
ครูสอน(CS) ----------> เด็กไม่ชอบ(CR)
ระหว่างการวางเงื่อนไข
ครูสอน(CS)+เล่นเกมส์(UCS) -----> เด็กชอบ(UCR)
หลังการวางเงื่อนไข
ครูสอน(CS) ---------> เด็กชอบ(CR)
|
3
|
สกินเนอร์
|
การวางเงื่อนไขการกระทำ
|
จัดอยู่ในกลุ่ม Typt-Rซึ่งกลุ่มนี้ต้องมีการแสดงพฤติกรรมออกมาก่อนถึงจะได้ตัวสริมแรง
|
ขั้นที่ 1 ( ก่อนการเรียนรู้ )
อ่านหนังสือ (R) ---------> คะแนนดี(Sre)
ขั้นที่ 2 ( หลังการเรียนรู )
การสอบ (S)+คะแนนดี (Sre)
-------> อ่านหนังสื(R)
การสอบ(S) ---------> อ่านหนังสือ(R)+คะเเนนดี(Sre)
|
4
|
ธอร์นไดค์
|
สัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
|
จัดอยู่ในกลุ่ม Typt-R ซึ่งกลุ่มนี้ต้องมีการแสดงพฤติกรรมออกมาก่อนถึงจะได้ตัวสริมแรง
|
---> R1 สีดำ + สีขาว = สีเทา
---> R2 สีน้ำเงิน + สีเหลือง = สีเขียว
---> R3 สีแดง + สีดำ = สีน้ำตาล
--->
R4 สีแดง + สีเหลือง = สีส้ม
---> R5 สีแดง +
สีน้ำเงิน = สีม่วง
|
5
|
แบนดูรา
|
พัฒนาการเรียนรู้
|
เน้นความสำคัญของการเรียนรู้แบบการสังเกตหรือเลียนแบบจากต้นแบบ
|
สถานการณ์ในห้องเรียน
ด.ช.เจต
เป็นเด็กขยันทุกครั้งที่ครุสั่งการบ้าน ด.ช.เจตจะส่งการบ้านตรงต่อเวลาเสมอ
และครูจะให้รางวัลทุกครั้งเมื่อ ด.ช.เจตส่งการบ้านตรงเวลา
ด.ช.เดช เห็น ด.ช.เจตส่งการบ้านตรงเวลาและครุจะให้รางวัลทุกครั้ง
ด.ช.เดช จึงทำการบ้านส่งครูตรงเวลาด้วยเพราะอยากได้รางวัลเหมือน ด.ช.เจต
|
6
|
เกสตัลท์
|
การเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
|
ควรคำนึงถึงการรับรู้ของแต่ละบุคคลว่ามีความแตกต่างกันโดยอาศัยความใจใส่และประสบการณ์เดิมที่มีอยู่
|
ครูให้ ด.ญ. รานี ด.ญ. ขวัญอุราระบายสีดออกไม้
โดยครูได้ปริ้นรูปดอกไม้ที่เหมือนกันให้นักเรียนทั้งสองคนระบายสี ด.ญ.รานี
ระบายสีแดง ส่วน ด.ญ.ขวัญอุราระบายสีเหลือง
เหตุผลที่ทำให้เด็กทั้งสองคนเลือกระบายสีดอกไม้ที่ไม่เหมือนกันเพราะที่บ้านของ
ด.ญ.รานีมีดอกไม้สีแดงส่วน ด.ญ.ขวัญอุรามีดอกไม้สีเหลือง
นั่นก็หมายความว่าขึ้นอยู่กับประสบการณ์เดิมที่ทั้งสองคนมีอยู่
|
ตารางสรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น